097-2362994
[email protected]
Line
หน้าแรก
บริการของเรา
รับทำบัญชี
รับตรวจสอบบัญชี
รับจดทะเบียนบริษัท
รับวางระบบบัญชี
รับวางแผนภาษี
รับคัดหนังสือรับรอง
โปรแกรมบัญชี Express
บทความ
เกี่ยวกับสำนักงานบัญชีเรา
ติดต่อเรา
1808
views
Line
โดย
สำนักงานบัญชีพีทูพี
เมื่อ
11 ก.ค. 2564
แชร์บนเฟสบุ๊ค
ทุนจดทะเบียนบริษัท
ทุนจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจใหม่
การจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจใหม่ปัจจุบันมีการใช้
ทุนจดทะเบียนบริษัท
หรือใช้ ทุนจัดตั้งธุรกิจใหม่ถึง 327
,
464 ล้านบาทต่อปี
มีผู้ประกอบธุรกิจยื่นขอ จดทะเบียนจัดตั้งห้างหุ้นส่วน และบริษัทใหม่เฉลี่ยทั่วประเทศ ปีละประมาณ 70,
000 ราย ทั้งประเทศ
(ข้อมูลกรมพัฒนาธุรกิจการค้า,
www.dbd.go.th
)
จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจใหม่ก็จะมีการกล่าวถึงมูลค่า
ทุนจดทะเบียนบริษัท
ที่สูงในแต่ละปีขนาดนี้เราจึงขอนำความรู้เรื่อง
ทุนจดทะเบียนบริษัท
มาเล่าให้นักธุรกิจมือใหม่ ได้รู้จัก
กฎหมายกำหนดบริษัทที่ตั้งขึ้น ต้องมีการแบ่งทุนเป็นหุ้น
ซึ่งจากมาตรา 1096
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บัญญัติไว้ว่าบริษัทจํากัดคือ บริษัทที่ตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่า ๆ กัน
ผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจํากัดเพียงไม่เกินจํานวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือดังนั้นจึงมีคำที่เกี่ยวข้องก็คือ(1)บริษัท และ (2)
ทุนจดทะเบียนบริษัท
(1) บริษัท จำกัด
ผู้ก่อตั้งก็คือการที่นักธุรกิจพ่อค้า แม่ขาย
ร่วมกับเพื่อน พี่ น้องที่อยากจะจดทะเบียนธุรกิจให้มีผลทางกฎหมาย หรือมีสถานะเป็นนิติบุคคล
ได้รับเลขทะเบียนนิติบุคคล ใช้เป็นเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของกรมสรรพากรตั้งแต่
3
คนขึ้นไปร่วมกันทำกิจการทางการค้าหรือบริการ
วัตถุประสงค์ในการตั้งนั้นเพื่อแสวงหากำไรจากการทำกิจกรรมดังกล่าวหรือ
ดำเนินกิจการนั้นเพื่อแบ่งปันผลกำไรที่ออกดอกออกผลกันโดยใช้ชื่อเรียกว่าบริษัทจำกัด
ดูรายละเอียดการจดทะเบียนบริษัท เพิ่มเติม
(2)ทุนจดทะเบียน บริษัท
คณะผู้ก่อตั้งดังกล่าวข้างต้นทำการแบ่งทุนออกเป็นหุ้น มูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน โดยจัดให้ให้มีผู้ลงทุนในบริษัทเรียกว่า“ผู้ถือหุ้น”
ทุกคนต้องซื้อหุ้นอย่างน้อยคนละ 1 หุ้น โดยผู้ถือหุ้นรับผิดไม่เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้น ที่ตนถือเมื่อจดทะเบียนบริษัทจำกัดแล้วจะมีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายแยกต่างหากจากผู้ถือหุ้น
จองซื้อหุ้นและนัดประชุมผู้ถือหุ้น
จัดให้มีการจองซื้อหุ้นทั้งหมดและนัดประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อจัดทำสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นหลักฐานความเห็นชอบในการจัดตั้งบริษัท
สำเนารายงานการประชุมการจัดตั้งบริษัทสำเนาข้อบังคับ สำเนาหลักฐานการชำระค่าหุ้น ที่บริษัทออกให้กับผู้ถือหุ้น แผนที่ตั้งของสำนักงานใหญ่
สำเนาบัตรประชาชนของ ผู้ก่อตั้งบริษัท และของคณะกรรมการทุกคน ซึ่งเอกสารสำคัญทุกฉบับจะต้องมีการลงนามรับรองจากผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อย 1 คน
ติดต่อขอใบเสนอราคาจดทะเบียนบริษัท
จัดทำสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น
จัดทำสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น คือ บริษัทจำกัดต้องให้มีการจัดทำ ตั้งแต่วันที่ได้รับการจดทะเบียนเป็นบริษัท โดยจัดทำบันทึกข้อมูล
รายละเอียด
ของผู้ถือหุ้นพร้อมกับจำนวนหุ้นเท่าไหร่มูลค่าเพียงใดรวมถึงวันเดือนปีแห่งการถือหุ้น รวมถึงเข้า-ออกจากการเป็นผู้ถือหุ้น
รวมไปถึงรายละเอียดในการ
โอนหุ้นให้แก่บุคคลอื่นการเปลี่ยนแปลงรายการต่างๆ ของการถือหุ้น
โดยต้องเก็บรักษาทะเบียนคุมรายละเอียดดังกล่าวไว้ที่สำนักงานของบริษัท
สมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นต้องเปิดให้ผู้ถือหุ้น ดูได้ในระหว่างเวลาทำการไม่น้อยกว่าวันละ
2
ชั่วโมง โดยไม่เก็บค่าธรรมเนียม
หากบริษัทใดหรือกรรมการผู้จัดการไม่ดำเนินการดังกล่าวมีความผิด มีค่าปรับไม่เกิน 5,000 บาท
อ่านรายละเอียดบริการรับทำบัญชี
การเปลี่ยนแปลงรายการต่างๆของ ทุนจดทะเบียนบริษัท
ในการดำเนินการ เปลี่ยนแปลงรายการต่างๆทางทะเบียนของบริษัท คือการเพิ่มทุน การลดทุน การเปลี่ยนแปลงทุนของบริษัทจำกัด
กรรมการผู้มีอำนาจกระทำการแทนบริษัทเป็นผู้ยื่นขอจดทะเบียนแก้ไขเปลี่ยนแปลง โดยการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อาจจะต้องได้รับมติ
ของที่ประชุมคณะกรรมการ หรือผู้ถือหุ้น แต่หากเป็นรายการที่มีความสำคัญ จะต้องให้ผู้ถือหุ้นมีมติพิเศษต้องไปยื่นจดทะเบียนดังกล่าว
ภายใน
14
วัน
นับจากวันที่ลงมติหากบริษัทไม่ดำเนินการดังกล่าวมีความผิด มีค่าปรับไม่เกิน 20,
000 บาท หรือกรรมการ
ไม่ดำเนินการดังกล่าวข้างต้นมีความผิดมีค่าปรับไม่เกิน 50,000
บาท
ดูบริการให้คำปรึกษาด้านบัญชีภาษี
บริษัท สำนักงานบัญชี พีทูพี จำกัด
โทรศัพท์ : 097 236 2994
ไอดีไลน์ : p2pacc
www.p2paccounting.com
แชร์บนเฟสบุ๊ค
บทความที่น่าสนใจ
รับทำบัญชี กรุงเทพ บริการบัญชีครบวงจร
รับสอนบัญชี
รับจดทะเบียนการค้า ร้านค้าออนไลน์
ภาษีขายของออนไลน์ e-payment
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
บริการรับทำบัญชี ธุรกิจ SME Startup
จดทะเบียนบริษัท ใช้เอกสาร อะไรบ้าง
จดทะเบียนพาณิชย์
ห้างหุ้นส่วน คืออะไร
รับทำบัญชี รายเดือน รายปี
สภาวิชาชีพบัญชี
วิเคราะห์งบการเงิน วิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ
ประโยชน์การทำบัญชี VS เทคนิคหาคนทำบัญชี
ลักษณะงานบัญชี ผู้ทำบัญชี
ผู้ทำบัญชี รับทำบัญชีได้ไม่เกินกี่รายต่อปี